เชือก

Carabiner Questions And Answers

ข้อมูลและคำถามน่าสนใจ เพื่อผู้ใช้งานคาราบิเนอร์

คาราบิเนอร์ Carabiner หรือ Karabiner คือ ห่วงเกี่ยวนิรภัย ที่ใช้รับน้ำหนักหรือรับแรงดึงระหว่างสิ่งของ, อุปกรณ์, บุคคล หรือต้นไม้และสิ่งมีชีวิต ฯ เชื่อมต่อโดยยึดโยงน้ำหนักจาก 2 จุดเข้าด้วยกัน, ใช้ยกหรือเกาะเกี่ยว, ใช้แขวนหรือดึงอุปกรณ์ต่างๆ มีปัจจัยอะไร ที่คุณควรรู้จักและเข้าใจ ก่อนการเลือกใช้คาราบิเนอร์ จะเลือกคาราบิเนอร์อย่างไรให้เหมาะกับการใช้งาน? อันดับแรกต้องรู้ว่าจะนำคาราบิเนอร์ไปใช้งานลักษณะไหน? ใช้ยกบุคคลหรือยกวัตถุสิ่งของ? น้ำหนักที่จะใช้หนักเท่าไร? ใช้ในสภาพแวดล้อมแบบ...

ข้อมูลและคำถามน่าสนใจ เพื่อผู้ใช้งานรอก

ข้อมูลและคำถามน่าสนใจ เพื่อผู้ใช้งานรอก

“รอก” Pulley คือ ล้อซึ่งหมุนด้วยแกนระหว่างแผ่นด้านข้าง ออกแบบเพื่อใช้ทำระบบรอกทดแรง Mechanical Advantage หรือเปลี่ยนทิศทางในการดึงเชือก ช่วยในการดึงขึ้นหรือยกวัตถุสิ่งของหรือบุคคล รอกถือเป็นอุปกรณ์หลัก ในการลดแรงเสียดทาน และผ่อนแรงในการดึงขึ้นยังมีคำถามไหนที่คุณอยากให้เราช่วยตอบ ส่งคำถามของคุณมาได้ที่กล่องข้อความด้านล่างนี้ จะเลือกรอกที่ดีได้อย่างไร? สิ่งแรกของการเลือกรอก มาจากการตั้งคำถามว่า จะนำรอกไปใช้งานลักษณะไหน? จะนำไปใช้ยกสิ่งของหรือบุคคล? ต้องการใช้รอกไปช่วยทดแรง หรือน...

ที่มาที่ไปและการเลือกใช้เงื่อนเชือกพรูสิค

การพันเชือก Hitch (ฮิตช์) เป็นหนึ่งในการทำเงื่อนเชือก knot (น็อต) โดยการพันเชือก คือเงื่อนประเภทหนึ่งที่เอาไปพันรอบวัตถุ โดยถ้านำวัตถุนั้นออก เงื่อนก็จะคลายตัวและหลุดออกจากการผูกอย่างง่ายดาย การพันเชือกเงื่อนนั้นใช้ประโยชน์ได้หลายวัตถุประสงค์ แต่หนึ่งในวัตถุประสงค์หลัก คือ ผูกเงื่อนเพื่อใช้เป็นตัวจับเชือก เพื่อให้เชือกสองเส้นอยู่รวมกัน โดยที่สามารถเคลื่อนหรือขยับเปลี่ยนตำแหน่งได้ง่าย การพันเงื่อนจับเชือกมีหลายรูปแบบ แต่ที่มักนิยมใช้กันบ่อยที่สุดมีอยู่ 2 รูปแบบ ดังนี้https://www.youtube.com/watch...

ผลทดสอบประสิทธิภาพรอก – Testing Pulley Efficiency

การทดแรงโดยการใช้ระบบรอก ตัวเลขที่ได้แสดงสัดส่วนของแรงกระทำ ที่ออกจากตัวรอก output force : แรงดึงที่ใช้ input force. ตัวอย่างเช่น ระบบทดแรง 3:1 เกิดแรงกระทำ 3 เท่า เมื่อเทียบกับแรงที่ใช้ยกหรือดึง 1 หน่วย หากคนดึงออกแรงดึง 10 หน่วย จะมีแรงยกหรือดึงจากการทดระบบรอกเพิ่มขึ้น 30 หน่วย ซึ่งสามารถทำให้คนหนึ่งคน ยกน้ำหนักได้มากกว่าการใช้วิธียกอื่นๆ ซึ่งเรียกว่า "ความได้เปรียบเชิงกล Mechanical Advantage หรือการทดแรงด้วยระบบรอก" ในหนังสือคู่มือ การกู้ภัยโดยใช้ระบบเชือก Rope Rescue, การเข้าถึงพื้น...

เลือกคุณภาพอย่างเข้าใจ มองมาตรฐานจากภายใน

เมื่อก่อนตัวเลือกในการซื้ออุปกรณ์ประจำตัว ที่ใช้เพื่อความปลอดภัย (PPE) มักมีจำหน่ายเฉพาะบริษัทตัวแทนจำหน่ายหรือจากผู้ผลิตโดยตรง ในปัจจุบันอุปกรณ์เหล่านี้ซึ่งเป็นทั้งเครื่องป้องกันภัยหากใช้ของที่ดีมีคุณภาพ หรือจะเสี่ยงอันตรายหากพลาดไปใช้สินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ความน่ากลัวอยู่ที่ว่าอุปกรณ์เหล่านี้บนโลกออนไลน์ มีให้เห็นเกลื่อนกลาดมากมายหลายเกรดหลายยี่ห้อ แม้แต่ผู้ขายหรือแหล่งซื้อที่ตรวจสอบไม่ได้ไร้ที่มา ต่างก็เปิดร้านขึ้นมาหากำไรจากผู้ซื้อที่จ่ายเงินไปโดยเข้าใจผิดมาแล้วหลายราย. จะทำอย่างไรถึงจะรู...

ถ้าระบบ RPM (อาร์พีเอ็ม) แบบเดิมๆ ยังเพิ่มความเสี่ยง คุณจะเลือกหรือจะเลี่ยง?

เราได้อธิบายความแตกต่างระหว่างการทำงานเชือกกู้ภัย Rope Rescue กับการใช้ทักษะด้านเชือกเข้าถึงพื้นที่ Rope Access ในหลายบทความก่อนหน้านี้ โดย Rope Rescue เน้นที่การทำงานเป็นทีม ในขณะที่ Rope Access เป็นทักษะส่วนบุคคล ที่ส่วนมากจะใช้ในการรับทำงานบนที่สูง ซึ่งมีการวางแผนชัดเจนล่วงหน้า. ขอยกความแตกต่างเป็นตัวอย่างง่ายๆ เช่น ในการทำงาน Rope Rescue การทำระบบเชือกเพื่อดึงขึ้นหรือผ่อนลง สำหรับเจ้าหน้าที่กู้ภัยหรือผู้บาดเจ็บ เชือกที่ใช้จะเคลื่อนไหวไปตามวิธีการติดตั้งและยึดโยงโดยทีมกู้ภัย บางที่เรียกทีมกู...

เชือกกู้ภัย Rope Rescue แตกต่างอย่างไร กับการใช้เชือกเข้าถึงพื้นที่ Rope Access?

อะไรคือการปฏิบัติที่คล้ายแต่ไม่เหมือนกัน ของการทำงานระบบเชือกกู้ภัย Rope Rescue และการใช้เชือกเข้าถึงพื้นที่ Rope Access? และการฝึกเพื่อเข้าถึงพื้นที่สูงโดยใช้เชือกนั้น เหมือนกับการฝึกอบรมเชือกกู้ภัยหรือไม่? Rope Access เป็นรูปแบบของการทำงาน ซึ่งต้องใช้ทักษะด้านการใช้เชือกของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อเข้าถึงพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยาก โดยไม่สามารถใช้โครงสร้างเสริม หรือการเข้าถึงด้วยวิธีการอื่นสนับสนุนหน้างานได้. ในขณะที่ Rope Rescue เป็นการช่วยเหลือกู้ภัยโดยใช้เชือก และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถเ...

คุณภาพและความปลอดภัย เบื้องหลังตัวเลขการรับแรงดึง

คำถามยอดฮิตที่เราถูกถามเสมอ เมื่อเจอความสงสัยในความแข็งแรงของอุปกรณ์ ทั้งอุปกรณ์ในงานเชือกกู้ภัย Rope Rescue และอุปกรณ์เชือกที่ใช้เข้าถึงพื้นที่ Rope Access เมื่อมีอุปกรณ์ใหม่ ก็ไม่พ้นคำถามอันดับต้นๆที่ตามมาว่า "อุปกรณ์ตัวนี้ ทนแรงดึงได้ถึงแค่ไหน" ดูเหมือนจะเป็นคำถามง่ายๆ ที่ตอบสั้นๆกันด้วยตัวเลข แต่หากตอบให้ลึกลงไป ควรอธิบายให้ลึกซึ่งถึงที่มาของแรงดึงนั่นด้วย. ไม่ใช่เรื่องแปลกที่โดยทั่วไป ในสินค้าหน้าตาคล้ายกัน อาจทำให้คิดว่าขั้นตอนการผลิตก็คงเหมือนกัน. แต่ในความเป็นจริง สิ่งที่เป็นรายละเอียดก...

ผลทดสอบความเสียหายบนตัวเชือก โดยการวัดแรงดึงผ่านอุปกรณ์จับเชือกแบบต่างๆ

อุปกรณ์บีบจับเชือก (Rope grab) ซึ่งใช้ในการทำงานบนที่สูงหรือการช่วยเหลือกู้ภัย ส่วนมากออกแบบการยึดจับและล็อคเปลือก หรือปลอกนอกของเชือกออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ 1.อุปกรณ์จับเชือกที่ใช้ "แคมชนิดร่องหยัก" โดยส่วนที่นูนจากร่องบนตัวแคม จะดันและกดไปบนปลอกเชือก และ 2.อุปกรณ์จับเชือกที่ใช้ "แคมแบบฟันแหลม" โดยฟันที่ยื่นออกมาจากแคม จะทำหน้าที่กดและจิกไปบนปลอกเชือก เพื่อยึดเกาะและจับเชือกให้แน่นและลึกยิ่งขึ้น. ลักษณะของแคมบนอุปกรณ์จับเชือก Climbing Technology Ascender Simple, ISC Wales Mini Rope Grab, Climb...

หมวดหมู่สินค้า